การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ (Data Analysis)
ระบบพิกัด (Coordinate system) ในแผนที่ที่ใช้อยู่มี 2 ระบบ ได้แก่
1. Geographic Coordinate System2. Projected Coordinate System
ในการแปลงระบบพิกัดอาจจะเปลี่ยนจากระบบ Geographic Coordinate System ไปเป็นระบบ Projected Coordinate System หรือแปลงในทางตรงกันข้ามก็ได้
เส้นโครงแผนที่ (Map projection) เป็นการถ่ายทอดลักษณะพื้นผิวและ สิ่งที่ปรากฎอยู่บนพื้นที่ลงบนแผ่นระนาบ โดยให้มีคุณลักษณะทางพื้นที่ รูปร่าง ระยะทาง และทิศทาง ได้สัดส่วนตรงกับลักษณะจริงบนพื้นโลก
เส้นโครงแผนที่มี 3 รูปแบบ ได้แก่
- แบบทรงกระบอก
- แบบทรงกรวย
- แบบระนาบ
เปิดข้อมูล
การแปลงระบบทางภูมิศาสตร์ เป็นการเปลี่ยนจากระบบพิกัดทาง ภูมิศาสตร์หนึ่งไปเป็นอีกระบบหนึ่ง เช่น เปลี่ยนจากระบบ Geographic coordinate system เป็น Projected (Grid) coordinate system
ส่วนการแปลงเส้นโครงแผนที่ก็ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการใช้งาน ซึ่ง แต่ละรูปแบบจะมีคุณสมบัติที่แตกต่างกันออกไป
ทำการเซตค่าพิกัด
เลือกพิกัดที่ต้องการ
รอโปรแกรมประมวลผล แล้วจะได้ข้อมูลที่ผ่านการแปลงค่าพิกัดเรียบร้อยแล้ว
ป้อนข้อมูล
ทำการเปลี่ยนค่าพิกัดของข้อมูล
การซ้อนทับข้อมูล เป็นการนำข้อมูลที่มีอยู่จากหลายแหล่งมารวมกัน เพื่อ ใช้ในการตัดสินใจหรือแก้ปัญหา
การซ้อนทับข้อมูลอาจะใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ (บวก ลบ คูณ หาร ฯลฯ) หรือตรรกศาสตร์ ก็ได้ (AND OR ฯลฯ)
ข้อมูลแผนที่ที่จะนำมาซ้อนทับกันนั้นจะต้องมีระบบพิกัดเดียวกัน และ ข้อมูลตารางจะถูกสร้างขึ้นมาใหม่
พื้นหลักฐานที่ยังไม่ได้ทำการแปลหลักฐานจะทำให้ข้อมูลไม่ตรงกัน
ค่าคงที่จากการแปลงค่าจาก Indene1975 เป็น WGS1984
จะได้แผนที่ที่มีความถูกต้อง และมีค่าพิกัดที่ตรงกัน
การรวมข้อมูล
- การทำ Append โดยที่จะรวบเอาข้อมูลที่1
มารวมกับข้อมูลที่2
- Test ข้อมูลที่เหมือนกัน
- No test ข้อมูลที่ไม่เหมือนกัน
การลบข้อมูล (Erase)
เปิดข้อมูลขึ้นมา
กด Zoom in เข้าไปจะเห็นได้ว่ามีการซ้อนทับกันของข้อมูลทั้งสอง
ผลลัพธ์ที่ได้ ข้อมูลจะถูกตัดออกไป จะเหลือข้อมูลที่เป็นข้อมูลชุดเดียวกัน
เป็นกระบวนการในการจัดกลุ่มของสิ่งที่มีลักษณะเดียวกัน จากนั้นจะต้อง รวมแผนที่ที่มีรายละเอียดเหมือนกันให้เป็นชิ้นเดียวกนั เรียกว่า Map dissolve หรือ Generalization
ในการจัดกลุ่มข้อมูลนี้มักจะดำเนินการโดยใช้ข้อมูลเชิงคุณลักษณะเป็น ส่วนใหญ่
Reclassify
เป็นการจัดกลุ่ม ข้อมูลใหม่ โดยใช้ข้อมูลคุณลักษณะ อันใดอันหนึ่งหรือหลายอันรวมกัน
เปิดข้อมูลขึ้นมาใหม่
ไปที่ Arc Toolbox >> Raster Reclass >> Reclassify
ทำการ Input ข้อมูล
คลิกเลือกที่ Classify เพื่อทำการสร้างค่าของชั้นข้อมูล
กำหนดค่าช่วงชั้นของมูลตามที่เราต้องการ
ผลลัพธ์ที่ได้ จะได้ข้อมูลที่ถูกแบ่งออกเป็นกลุ่ม (7 กลุ่ม) ตามที่เราได้กำหนดไว้
VIDEO ประกอบข้อมูล
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น