การวิเคราะห์โครงข่าย (Network analysis)
โครงข่าย (Network) ประกอบด้วยการเชื่อมต่อกันของเส้น ซึ่งโดยทั่วไป แล้วมักจะนึกถึงโครงข่ายถนน การใช้ประโยชน์จากโครงข่าย เช่น การหาเส้นทางที่สั้นที่สุด (Shortest route) จ้าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีข้อมูลความเร็ว (Travel time) ซึ่งจะ น้ามาเป็นเงื่อนไขในการวิเคราะห์
ชุดคำสั่งการวิเคราะห์โครงข่าย (Network analyst extension) ใน โปรแกรม ArcGIS Desktop 10 นี้มีคุณสมบัติเด่นหลายประการที่ น้ามาใช้ได้ เช่น การวิเคราะห์เส้นทาง การวิเคราะห์พื้นที่ให้บริการ หรือการค้นหาสิ่ง อ้านวยควาสะดวกที่อยู่ใกล้ที่สุด
ผู้ใช้สามารถสร้างหรือก้าหนดเงื่อนไขส้าหรับวิเคราะห์ข้อมูลได้เสมือนจริง มากขึ้น เช่น การจ้ากัดความเร็ว ห้ามเลี้ยว หรือเงื่อนไขทางการจราจร
การวิเคราะห์โครงข่าย-2
Network dataset เป็นชุดข้อมูลที่ใช้ในการจ้าลองโครงข่ายการขนส่ง ซึ่ง สร้างมาจากข้อมูลจุดและเส้น การเลี้ยว และการเชื่อมต่อรูปแบบต่าง ๆ
Network dataset จะจ้าลองโครงข่ายถนนตามข้อมูล และเงื่อนไขที่ ต้องการ เช่น ต้องการวิเคราะห์เส้นทางการขนส่งสินค้า ซึ่งต้องเป็น เส้นทางที่สั้นที่สุด เป็นต้น
นอกจากนี้ยังสามารถก้าหนดเงื่อนไขให้ตรงตามสภาพความเป็นจริงได้ มากขึ้น เช่น จุดห้ามเลี้ยว จุดกลับรถ หรือบริเวณที่ห้ามรถผ่าน
องค์ประกอบของ Network dataset
- เส้น (Edge) ใช้ส้าหรับเชื่อมต่อองค์ประกอบอื่น ๆ เช่น แยก
- จุดเชื่อมต่อ (Junction) ใช้ส้าหรับเชื่อมต่อเส้น และก้าหนด ทิศทางของเส้น
- การเลี้ยว (Turn) เป็นตัวก้าหนดทิศทางของเส้น
หลักการเชื่อมต่อ (Connectivity)
- การเชื่อมต่อแบบกลุ่ม (Connectivity group)
- การเชื่อมต่อเส้นภายในโครงข่ายเดียวกัน การเชื่อมต่อข้อมูลเส้นถนนต่าง ๆ ในโครงข่ายเดียวกันเข้าด้วยกัน มีวิธีการเชื่อมต่อ 2 รูปแบบ ได้แก่
1. Endpoint connectivity ข้อมูลเส้นจะถูกเชื่อมต่อที่จุดปลาย เท่านั้น สามารถน้าไปใช้ในการจ้าลองในกรณีที่มีการข้ามผ่านวัตถุ เช่น สะพาน หรืออุโมงค์
2. Vertex connectivity ข้อมูลเส้นจะถูกแบ่งเป็นเส้นย่อย ๆ ที่ จุดตัดของเส้น
- การเชื่อมต่อเส้นระหว่างโครงข่ายอื่น
ในบางกรณีจ้าเป็นต้องมีการเชื่อมต่อเส้นกับโครงข่ายอื่น โดยการ เชื่อมต่อเส้นผ่านจุดเชื่อม (แยก) ของโครงข่ายทั้งหมด
ตัวอย่างเช่นการสร้างแบบจำลองการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ (Multimodal transport) เช่น เชื่อมต่อระบบการขนส่งสินค้าทางบก ทางนา และทางรถไฟเข้าด้วยกัน
ดังนั้นจึงต้องกำหนดรูปแบบการเชื่อมต่อ (Connectivity policy) ให้กับข้อมูลในโครงข่ายต่าง ๆ
ชุดคำสั่งการวิเคราะห์โครงข่าย สามารถใช้วิเคราะห์ได้ดังนี้
- การวิเคราะห์เส้นทางที่ดีที่สุด (Best route analysis) เป็นเส้นทางเป็นการหาเส้นทางที่มี Cost น้อยที่สุด โดย Cost ในที่นี้อาจเป็น ระยะทางหรือระยะเวลาที่ใช้ในการเดินทางก็ได้ ในการวิเคราะห์เส้นทางที่ดีที่สุดนี้ยังสามารถวิเคราะห์หรือจ้าลองรูปแบบ การขนส่ง (หรือการเดินทาง) แบบต่อเนื่องหลายรูปแบบ (Multimodal transport) ได้อีกด้วย
- การวิเคราะห์พื้นที่ให้บริการ (Service area analysis) พื้นที่ให้บริการ คือ พื้นที่หรือบริเวณที่สามารถเข้าถึงได้จากจุดที่กำหนด เช่น การหาพื้นที่ให้บริการที่ใช้เวลา 5 นาทีในการเข้าถึงจากร้านค้าที่กำหนด ซึ่งสามารถคำนวณจ้านวนประชากร (ลูกค้า) ขนาดของพื้นที่ หรือสิ่งอื่น ๆ ที่อยู่ภายในพื้นที่ให้บริการ
- การวิเคราะห์หาสิ่งอ้านวยความสะดวกที่ใกล้ที่สุด (Closest facility analysis) การวิเคราะห์หาสิ่งอ้านวยความสะดวกที่ใกล้ที่สุดสามารถใช้ในการ คำนวณระยะทาง (และระยะเวลา) ในการเดินจากเหตุการณ์ไปยังสิ่ง อ้านวยความสะดวก นอกจากนี้ยังสามารถหาตำแหน่งของสิ่งอำนวยความสะดวกที่อยู่ใกล้ที่สุด ได้ด้วย Closest facility analysis-1
- การวิเคราะห์เมทริกซ์ค่าใช้จ่ายระหว่างจุดเริ่มต้นกับจุดปลายทาง (Origin-Destination cost matrix analysis) OD cost matrix ใช้ในการหาและคำนวณเส้นทางที่สั้นที่สุดในกรณีที่มี จุดเริ่มต้นและจุดปลายทางหลายแห่ง ในการคำนวณ OD cost matrix นี้ สามารถกำหนดจำนวนจุดปลายทาง ตามที่ต้องการได้
ตัวอย่าง
เปิดชั้นข้อมูลขึ้นมา
Open Attribute Table ของข้อมูล
เปิดข้อมูล praise ขึ้นมา ซึ่งก็ คือ ข้อมูลจุดเลี้ยว
กด Zoom in เข้าไป จะเห็นจุดเลี้ยวได้อย่างชัดเจน
ทำการสร้าง Personal Geodatabase
ตั้งชื่อไฟล์ Personal Geodatabase ว่า MyNetwork
ทำการสร้าง Feature Dataset ในไฟล์ Personal Geodatabase
ตั้งชื่อไฟล์
ทำการใส่ค่าพิกัดของชั้นข้อมูล โดยการเลือกค่าพิกัดจากไฟล์ที่มีค่าพิกัดอยู่แล้ว ไปที่ Import
เลือกข้อมูลที่มีค่าพิกัด
จากนั้นกด Next
การกำหนดพิกัดค่า Z ในกรณีนี้ไม่ต้องระบุค่า Z
การกำหนดค่าพิกัด XY Tolerance ในกรณีนี้ไม่ต้องระบุค่าใดๆเพิ่มเติม (ใช่ค่าเดิมที่ได้กำหนดมา)
การ Import ชั้นข้อมูล Feature Class(multiple)
เลือก Add ชั้นข้อมูล Feature Class(multiple) ตามที่เราต้องการ
ตั้งชื่อตามที่ต้องการ
เลือกข้อมูลที่จะเลือกนำไปทำโครงข่าย (Network Dataset)
การเซตค่าจุดเลี้ยว
การเซตค่าของการเชื่อมต่อเส้น
ลักษณะการเชื่อมต่อของเส้น
- การต่อแบบ End Point การต่อเส้นแบบจุดปลายเส้น
- การต่อ Any Point สามมารถต่อที่จุดกลางเส้นหรือจุดใดๆก็ได้
การเซตค่าในเรื่องแบบจำลองความสูง โดยให้เราระบุเงื่อนไขของ Attribute
ที่บอกว่าฟิลด์นั้นมีเงื่อนไข ข้อมูลอะไรบ้าง
เลือก Directions
เลือกหน่วยของการวัด
เปลี่ยน Primary ให้แสดงเป็น Full
name
การสรุปผลค่าที่เราได้ทำการเซตค่าของข้อมูลที่เราได้ทำมา
จะปรากฎหน้าต่างใหม่ขึ้นมาว่า เราต้องการที่จะ บิลว์ข้อมูลที่ทำมาเลยหรือไม่
หน้าต่างที่บอกเราว่าข้อมูลมีการผิดพลาดเล็กน้อย
กด yes เพื่อเปิดข้อมูลข้นมา
ข้อมูลที่ได้
การเปิดเครื่องมือ Network Analyst
สร้างไฟล์ New Routs ขึ้นมาใหม่
คลิกที่ Show/Hide Network Analyst Window
ทำการสร้าง จุดที่ 1 ขึ้นมา
โดยไปที่ Create Network Location Tool
ทำการสร้าง จุดที่ 2
กดเลือก Route Properties
เซตค่าตามที่เราต้องการ
กรณี เลือกเป็นเส้นทางที่เร็วที่สุด
กด Solve แล้วจะได้เส้นทางที่เร็วที่สุด ดังภาพ
เลือกที่ Direction Window เพื่อที่จะดูข้อมูลเส้นทางอื่นๆที่ใกล้เคียง
ข้อมูลเส้นทางอื่นๆที่ใกล้เคียง
ทำการเพิ่มจุดขึ้นมาใหม่
เซตค่าข้อมูลตามที่ต้องการ
การนำเอาข้อมูลออกไปใช้
การสร้าง New Service Area
เซตค่าของข้อมูล
เซตค่าเวลาของระยะห่างที่ต้องการเดินทางไปให้จุดที่เราต้องการภายในเวลา 10 นาที
จะได้ขอบเขตบริเวณที่ใช้เวลาในการเดินทางไป 10 นาที
เป็นการสร้างระยะทางที่เราจะสามารถเดินทางไปในจุดเป้าหมายเป็นระยะทางที่สั้นที่สุด
ตั้งชื่อจุด
ไปที่ Layer Properties แล้วทำการเซตค่าข้อมูล
จะได้เส้นทางดังภาพ
เปิด Attribute ของข้อมูลขึ้น เพื่อดูระยะทาง
การสร้าง New OD Cost Matrix
ตั้งชื่อ
เซตค่าของข้อมูลตามที่ต้องการ
ผลลัพธ์ที่ได้
ทำการ Open Attribute ขึ้นมาเพื่อดูระยะทาง
VIDEO ประกอบข้อมูล
error : the network data-set has no edge element. It may be Unbuilt
ตอบลบฟ้องเมื่อกดหาเส้นทาง มันคืออะไรหรอครับ ?